วันศุกร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ข้อสอบ

1 ) โลหะ A ทำปฏิกิริยากับกรดโดรคลอริก แต่ B และ C ไม่ทำปฏิกิริยากับกรดโดรคลอริก เมื่อนำโลหะ B จุ่มลงในสารละลายที่มีไอออน ได้โลหะ C เกาะบนโลหะ B ข้อใดถูก
ก. ความสามารถในการสูญเสียอิเล็กตรอน A > B > C
ข. โลหะ C ช่วยป้องกนการผุกร่อนของโลหะ A ได้
ค. เมื่อต่อครึ่งเซลล์ และ เข้าด้วยกัน โลหะ C จะเป็นขั้วแคโทด
ง. เมื่อนำโลหะ A จุ่มลงในสารละลาย จะได้โลหะ B เกาะบนแท่งโลหะ A
1.ก, ข และ ง
2.ข, ค และ ง
3.ก, ค และ ง
4.ก, ข และ ค

2 ) การแยกสารโดยวิธีโครมาโทกราฟี เมื่อใช้ตัวทำละลาย X สาร A B และ C มีค่า เท่ากับ 0.2 0.3 และ 0.6 ตามลำดับ แต่เมื่อใช้ตัวทำละลายผสมของ X และ Y ในอัตราส่วน 1 : 1 ปรากฏว่าค่า ของสาร A B และ C เท่ากับ 0.4 0.25 และ 0.35 ตามลำดับ ข้อสรุปในข้อใดสอดคล้องกับข้อมูล
1.สาร A ถูกดูดซับได้มากกว่าสาร B และสาร B ถูกดูดซับได้ดีกว่าสาร C
2.สาร A ถูกดูดซับได้ดีในตัวทำละลาย X ส่วนสาร B ถูกดูดซับได้ดีกว่าสาร C
3.การแยกสาร A B และ C ออกจากกันนั้น ใช้ตัวทำลาย X ได้ผลดีกว่าใช้ตัวทำละลายผสมของ X และ Y
4.ควรใช้ตัวทำละลาย Y แยกสาร A และ B ออกจากกัน แต่ไม่ควรใช้แยกสาร B และ C ออกจากกัน

3 ) ไนโตรกลีเซอรีน สลายตัวดังสมการ
(สมการยังไม่ดุล)
เกิดความร้อนมหาศาล ทำให้แก๊สที่เกิดขึ้นขยายตัวอย่างฉับพลัน จึงเกิดการระเบิดอย่างรุนแรง ถ้าเริ่มต้นด้วยไนโตรกลีเซอรีบ 45.4 g และปฏิกิริยานี้เกิดสมบูรณ์ จะเกิดแก๊ส และ รวมกันกี่ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ STP
1. 21.3
2. 22.4
3. 25.5
4. 30.6

4 ) น้ำมันระกำ (เมทิลซาลิซิเลต) เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่างเมทานอลกับกรดซาลิซิลิก โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ดังสมการ

โดยปฏิกิริยานี้ มีร้อยละผลผลิตเท่ากับ 80 ถ้าใช้เมทานอล 30 g ทำปฏิกิริยากับกรดซาลิซิลิก 140 g จะได้น้ำมันระกำหนักกี่กรัม
1. 114.0
2. 123.4
3. 142.5
4. 154.2

5 ) สารละลายที่มี mol ใน 400 ผสมกับสารละลาย KOH pH = 12 ปริมาตร 600 ถ้าต้องการทำให้สารละลายผสมมี pH = 7 จะต้องเติมสารละลายในข้อใด
1. 0.20 ลงไปอีก 85
2. 0.20 ลงไปอีก 150
3. 0.20 ลงไปอีก 150
4. 0.20 ลงไปอีก 85

19 ) สังกะสีและกำมะถันทำปฏิกิริยาการเกิดซิงค์ซัลไฟด์ (ZnS) ซึ่งเป็นสารตัวหนึ่งที่ใช้ในสารเรืองแสงที่เคลือบผิวด้านของหลอดภาพโทรทัศน์ ถ้าให้สังกะสี 29.25 g ทำปฏิกิริยากับกำมะถัน 16.0 g เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดลงอย่างสมบูรณ์จะมีสารใดเหลือ และเหลือกี่กรัม
1. Zn, 3.25
2. Zn, 6.5
3. S, 0.8
4. S, 1.6

23 ) การเปรียบเทียบสมบัติของแก๊ส He และ ในข้อใดถูก
1. เมื่อมวลเท่ากัน จะมีปริมาตรเท่ากันที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน
2. ที่อุณหภูมิเดียวกัน เมื่อมวลและปริมาตรเท่ากัน แก็ส จะมีความดันมากที่สุด
3. ที่อุณหภูมิเดียวกัน และความดันเดียวกัน แก๊สทั้ง 3 จะมีอัตราการแพร่เท่ากัน
4. เมื่อนำแก๊สผสมทั้ง 3 มาลดอุณหภูมิ แก๊ส จะควบแน่นเป็นลำดับสุดท้าย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น